THINK TANK


เจาะลึกประเด็นเด่นอย่างรอบด้าน

หักล้างความเชื่อเดิมกับ “Degrowth” แนวคิดที่บอกให้ลดการเจริญเติบโตเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้น

ทุบสถิติความร้อนสูงสุดตลอดกาล ภัยพิบัติถล่มหัวเมืองใหญ่ในระดับที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในรอบหลายสิบปี จึงไม่มีช่วงเวลาไหนที่เหมาะไปกว่านี้ในการมาทำความรู้จักแนวคิด “Degrowth” ที่บอกเราให้ลองลดการพัฒนาเพื่อความยั่งยืนที่แท้จริง

170 27 Min. Read

เรียนรู้บทเรียนผ่านเครื่องหมาย “สวัสติกะ” ของพรรคนาซี สัญญะแห่งความเกลียดชังและเรื่องต้องห้ามร่วมยุคสมัย

จากความโชคดีและความเจริญรุ่งเรืองในยุคโบราณ แปรเปลี่ยนเป็นสัญลักษณ์แห่งความเกลียดชัง การนำเครื่องหมาย “สวัสติกะ” ไปใช้ด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์จึงนำมาสู่การสร้างความตระหนักถึงคุณค่าของวิชาประวัติศาตร์อีกครั้ง

215 25 Min. Read

ย้อนรอยตำนาน “ลายควิลท์” สัญลักษณ์แห่งความหวังของทาสแอฟริกัน

ยุคสมัยของการใช้แรงงานทาสในสหรัฐอเมริกาที่ความลับเป็นทรัพย์สินแสนล้ำค่ามากกว่าเงินทอง “ทาสชาวแอฟริกัน” ต่างใช้ชีวิตอยู่บนความหวังที่จะได้รับความช่วยเหลือ การรักษาความลับไว้ไม่ให้แพร่งพรายจึงเป็นเรื่องสำคัญเท่าชีวิต และทำให้เรื่องราวของการใช้สัญลักษณ์อย่าง “ลายควิลท์” กลายเป็นอีกหนึ่งรหัสลับที่ถูกหยิบยกมาตีความอยู่เสมอ

160 19 Min. Read

เปิดเหตุผลทำไมทุกวันนี้คู่รักมัก ‘DINK’ แบบมีเงิน มีกัน แค่นั้นพอ

ทำความรู้จักเทรนด์ชีวิตคู่สุดฮิตอย่าง “DINK” “Dual Income, No Kids” (รายได้สองทาง ไม่มีลูก) ที่กำลังได้รับความนิยมสุดขั้วใน “TikTok” เพราะความฮิตครั้งนี้อาจจะไม่ได้เป็นเพียงกระแส แต่จะกลายเป็น “ความปกติใหม่” แห่งยุคเลยก็ว่าได้

372 29 Min. Read

Back to School...จับประเด็นหลากเรื่องราวภายใต้ชุดนักเรียนทั่วโลกที่หลายคนไม่เคยรู้

ยูนิฟอร์มรูปแบบหนึ่งที่มักจะปรากฏอยู่ในซีรีส์และภาพยนตร์แทบทุกเรื่องทุกประเทศ คงจะหนีไม่พ้น “ชุดนักเรียน” เครื่องแบบในความทรงจำที่หลายคนเกิดความสงสัยว่ามีที่มาที่ไปอย่างไร…มาไขข้อสงสัยพร้อมเจาะประเด็นชุดนักเรียน 4 ประเทศที่ฮอตฮิตในเรื่องเครื่องแบบมากที่สุดติดอันดับโลกกัน

630 24 Min. Read

สารพันปัญหาว่าด้วยชุดในการ์ตูน ไข 3 ข้อข้องใจทำไมต้องเป็นชุดแบบนั้น

หมวกติดปีกและเสื้อเอี๊ยมของอาราเล่ ชุดสีแดงกางเกงสีเหลืองของชินโนะสุเกะ หรือชุดมนุษย์หินของฟลินต์สโตน นับเป็นตัวอย่างของชุดที่เป็นภาพจำ ซึ่งประกอบสร้างให้ตัวละครสมบูรณ์ไม่ต่างจากเสียงพากย์หรือลายเส้นการวาดที่เป็นเอกลักษณ์...มาลองไขรหัสจากลายเส้นเหล่านั้นผ่านมุมมองของผู้เชี่ยวชาญที่เรารวบรวมมาให้อ่านกัน

256 28 Min. Read

เปิดบทวิเคราะห์และสถิติสำคัญที่จะตอบคำถามว่าทำไมใคร ๆ ก็อยากเป็น “ครีเอเตอร์”

ถ้าเราตั้งคำถามกับลูกหลานของเราในทุกวันนี้ว่าในอนาคตเด็ก ๆ อยากประกอบอาชีพอะไร เชื่อว่ามีจำนวนไม่น้อยที่จะตอบว่า อยากเป็น “ยูทูบเบอร์” อะไรคือแรงขับที่อยู่เบื้องหลังความฝันเหล่านี้...ไปค้นพบกับหลากหลายสถิติและข้อเท็จจริงที่อธิบายถึงอุตสาหกรรมที่ดูจะ “อู้ฟู่” สุด ๆ ในยุคนี้ไปพร้อมกัน

624 25 Min. Read

พบ 10 ไอเดียของผู้สร้างที่เราสรรมาให้ใน Design Research Day 2023

พบกับการนำเสนอผลงานการออกแบบและนวัตกรรมใหม่ ๆ ผ่านการบรรยาย “Design Research Day” ใน Bangkok Design Week 2023 ที่นักสร้างสรรค์จากสาขาต่าง ๆ จะได้ยกเอาโปรเจ็กต์หรืองานวิจัยมาเล่าสู่กันฟังในบรรยากาศเป็นกันเองทั้งหมด 10 โปรเจ็กต์ ภายในเวลาคนละ 20 นาที

1k 21 Min. Read

“เด็กสมัยนี้โตไว” สิ่งใดคือตัวตัดสิน

ผลสำรวจพบว่าผู้ปกครองกว่าครึ่งต่างเห็นพ้องและคิดว่าเทคโนโลยีและอินเทอร์เน็ตทำให้เด็กโตเร็วเกินไป จนบางส่วนแก้ปัญหาด้วยการปิดกั้นเด็ก ๆ จากการเข้าถึงโซเชียลมีเดียอย่างสิ้นเชิง อย่างไรก็ตาม ท่ามกลางความกังวลที่เกิดขึ้นในปรากฏการณ์ “เด็กสมัยนี้ดูเหมือนจะโตเร็วเกินไป” กลับพบหลักฐานบางส่วนที่ชี้ว่า “เด็กยุคนี้อาจจะเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ได้ช้ากว่ารุ่นก่อน ๆ” และการที่จะบอกว่าเด็กสมัยนี้โตไวขึ้นจริงหรือไม่ก็อาจจะอยู่ที่มุมมองของสังคมและบุคคลเท่านั้นเอง

2k 21 Min. Read

“อาหารจานผัก” และความพยายามหลากหลายด้านที่จะต้านไม่ให้เด็ก “ผลักผัก” ออกจากจาน

ร่วมค้นพบว่าเหตุใดทั่วทั้งโลกจึงเต็มไปด้วยผู้คนที่อยู่ #ทีมไม่ผัก โดยเฉพาะกับเด็ก ๆ ที่ได้รับการกล่อมเกลาทุกวันว่าผักนั้นแสนอร่อยและช่างมีประโยชน์

1k 25 Min. Read

ตามหาเหตุผล ทำไมยังมีคนเชื่อว่า “โลกแบน”

จากวันนั้นจนถึงวันนี้ที่วิทยาศาสตร์ทำให้มนุษย์สามารถบินออกไปมองเส้นโค้งของโลกในอวกาศได้ด้วยตาของตัวเอง และภาพของโลกใบนี้ที่ถูกสื่อสารออกมาก็เป็น “ทรงกลม” เสมอมา แต่ก็ใช่ว่า “ทุกคน” จะเชื่อแบบนั้น

11k 18 Min. Read

หนึ่งสมอง สองตา สู่การสร้างล้านมุมมองภายใต้โลกใบเดียวกัน

เคยไหมที่เราไม่เข้าใจว่าทำไมคนบางคนถึงเห็นโลกแตกต่างจากเราจนน่าทึ่ง (และในบางมุมมองก็อาจจะน่ารำคาญใจ) มาค้นหา “คำตอบ” ที่นำมาซึ่ง “ความต่าง” ซึ่งอาจมีปัจจัยมากกว่าแค่ชุดความรู้หรือประสบการณ์ แต่อาจเกี่ยวเนื่องกับ “กลไกการรับรู้” พื้นฐานที่หลายคนก็ “สะดวกแบบนี้” มาตลอดก็ได้

2k 26 Min. Read
See More